แม้วันนี้เราจะห่างไกลกัน
แต่ความผูกพันธ์ไม่เคยห่าง
ยังห่วงยังคิดถึงเพื่อนอยู่ทุกวัน
ความรักที่เคยมีให้กันจะอยู่ในใจฉันตลอดไป
วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2551
วันศุกร์ที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
ส่งงานเดียว กิจกรรมเล่านิทานไม่รู้จบ
ชื่อผู้ทำกิจกรรม น.ส.ภัทรานิษฐ์ มังคละกมลศักดิ์
สถานที่จัดกิจกรรม บ้านของน้องแจน น้องเจน
น้องๆที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.ด.ญ.ชนชญาน์ เบิกบาน (น้องเจน)
2.ด.ญ.ชญาดา เบิกบาน (น้องแจน)
3.ด.ญ.ธุวพร วงศ์เสาวภาคย์กุล (น้องเฟิร์น)
ผลการทำกิจกรรม ช่างการเล่านิทานในช่วงเเรกน้องน้องๆตั้งใจและสนใจฟังมาก แต่พอเล่าไปซักพัก
น้องๆทำท่าเหมือนจะเบื่อ อาจจะเป็นเพราะเนื้อหามันซำไปซำมา เลยทำให้ไม่น่าสน
ใจเท่าไร เราเลยบอกกับน้องๆว่าตอนเนี้ยเจ้ากระต่ายมันเบื่อที่จะสร้างบ้านเเล้ว
ให้น้องๆช่วยสร้างบ้านให้เจ้ากระต่ายหน่อยแล้วเราก็ใจมากขึ้น
และเมื่อให้น้องๆช่วยกันทำกิจกรรมเสริม 2 กิจกรรม น้องๆก็มีการแบ่งหน้าที่ในการ
ทำและช่วยกันทำกิจกรรมสำเร็จไปได้ด้วยดี
สถานที่จัดกิจกรรม บ้านของน้องแจน น้องเจน
น้องๆที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.ด.ญ.ชนชญาน์ เบิกบาน (น้องเจน)
2.ด.ญ.ชญาดา เบิกบาน (น้องแจน)
3.ด.ญ.ธุวพร วงศ์เสาวภาคย์กุล (น้องเฟิร์น)
ผลการทำกิจกรรม ช่างการเล่านิทานในช่วงเเรกน้องน้องๆตั้งใจและสนใจฟังมาก แต่พอเล่าไปซักพัก
น้องๆทำท่าเหมือนจะเบื่อ อาจจะเป็นเพราะเนื้อหามันซำไปซำมา เลยทำให้ไม่น่าสน
ใจเท่าไร เราเลยบอกกับน้องๆว่าตอนเนี้ยเจ้ากระต่ายมันเบื่อที่จะสร้างบ้านเเล้ว
ให้น้องๆช่วยสร้างบ้านให้เจ้ากระต่ายหน่อยแล้วเราก็ใจมากขึ้น
และเมื่อให้น้องๆช่วยกันทำกิจกรรมเสริม 2 กิจกรรม น้องๆก็มีการแบ่งหน้าที่ในการ
ทำและช่วยกันทำกิจกรรมสำเร็จไปได้ด้วยดี
วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
สิ่งที่ได้เรียนในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2551
วันนี้ได้เสนอกิจกรรมทางภาษากับอ. แล้วได้สอนฟ้าในการทำบล็อก
วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
กิจกรรมพัฒนาการทางภาษา การเล่านิทางไม่รู้จบ
1.การเตรียมตัว
- ศึกษาความหมายและทำความเข้าใจของนิทานไม่รู้จบ
- ฝึกซ้อมในการเล่านิทานไม่รู้จบ
- ศึกษากลวิธีในการเล่านิทานไม่รู้จบเพื่อให้เด็กสนใจ เเละ ไม่เบื่อในการฟัง
- เลือกนิทานไม่รู้จบ
2.การเตรียมสื่อ
- เนื้อเรื่อง นิทานไม่รู้จบ ( เรื่องนิทานเรื่อเจ้ากระต่ายขี้เบื่อ )
- ฉากการเล่านิทานไม่รู้จบ
- กระดาษ A4 หน้าเดียว
- กระดาษที่วาดรูปกระต่าย ทำเป็นมิติสัมพันธ์ หน้าแรกเป็นกระต่ายยิ้ม
แล้วพับครึ่งหน้าด้านล่าง แล้ววาดปากหุบลงให้เหมือนเจ้ากระต่ายกำลังเบื่อ
- สีเทียน
- กาวกากเพรช
- แผ่นที่ระบายกาวกากเพรช
3.การจัดกิจกรรม / ขั้นตอนการปฎิบัติกิจกรรม
- ทำความรู้จักกับน้องๆ
- เล่านิทานไม่รู้จบให้น้องๆฟัง โดยเปิดโอการให้น้องมีส่อนร่วมในการเล่า เช่น
เจ้ากระต่าย 2 ตัวอยู่กระท่อมได้ 2 วันเจ้ากระต่าย 2 ตัวก็เบื่อ
เจ้ากระต่าย 2 ตัวก็เลยสร้าง สร้างอะไรดีคะเด็กๆ (สิ่งที่เด็กตอบ)
เจ้ากระต่าย 2ตัว ก็อยู่ (สิ่งที่เด็กตอบ)ได้ 2 วันเจ้ากระต่าย 2ตัวก็....(เบื่อ)ให้เด็กตอบ
เมื่อเราเล่าไปเรื่อยๆจนรู้สึกว่านิทานควรจะจบสักที
เราก็บอกกับน้องๆว่า เจ้ากระต่าย 2 ตัวเนี่ย มันเบื่อที่จะสร้างบ้านแล้วคะ เด็กๆ
ไหนใครอย่ากจะสร้างบ้านให้เจ้ากระต่ายอยู่บ้างคะ ? งันเรามาช่วยกันสร้างบ้าน
ให้เจ้ากระต่าย 2 ตัวลงในกระดาษ A4 กันดีกว่า
- พูดคุยซักถามกับเด็กๆ ว่า เด็กๆวาดรูปอะไรให้เจ้ากระต่ายอยู่คะ ทำมัยเด็กๆถึงวาดรูปนี้ ฯลฯ
- มีกิจกรรมเสริมอยู่ 2 กิจกรรม ให้กับน้องๆช่วยกันทำ
1. ระบายสีรูปกระต่าย แบบมิติสัมพันธ์
2. ระบายสีด้วยกาวกากเพรช
- ศึกษาความหมายและทำความเข้าใจของนิทานไม่รู้จบ
- ฝึกซ้อมในการเล่านิทานไม่รู้จบ
- ศึกษากลวิธีในการเล่านิทานไม่รู้จบเพื่อให้เด็กสนใจ เเละ ไม่เบื่อในการฟัง
- เลือกนิทานไม่รู้จบ
2.การเตรียมสื่อ
- เนื้อเรื่อง นิทานไม่รู้จบ ( เรื่องนิทานเรื่อเจ้ากระต่ายขี้เบื่อ )
- ฉากการเล่านิทานไม่รู้จบ
- กระดาษ A4 หน้าเดียว
- กระดาษที่วาดรูปกระต่าย ทำเป็นมิติสัมพันธ์ หน้าแรกเป็นกระต่ายยิ้ม
แล้วพับครึ่งหน้าด้านล่าง แล้ววาดปากหุบลงให้เหมือนเจ้ากระต่ายกำลังเบื่อ
- สีเทียน
- กาวกากเพรช
- แผ่นที่ระบายกาวกากเพรช
3.การจัดกิจกรรม / ขั้นตอนการปฎิบัติกิจกรรม
- ทำความรู้จักกับน้องๆ
- เล่านิทานไม่รู้จบให้น้องๆฟัง โดยเปิดโอการให้น้องมีส่อนร่วมในการเล่า เช่น
เจ้ากระต่าย 2 ตัวอยู่กระท่อมได้ 2 วันเจ้ากระต่าย 2 ตัวก็เบื่อ
เจ้ากระต่าย 2 ตัวก็เลยสร้าง สร้างอะไรดีคะเด็กๆ (สิ่งที่เด็กตอบ)
เจ้ากระต่าย 2ตัว ก็อยู่ (สิ่งที่เด็กตอบ)ได้ 2 วันเจ้ากระต่าย 2ตัวก็....(เบื่อ)ให้เด็กตอบ
เมื่อเราเล่าไปเรื่อยๆจนรู้สึกว่านิทานควรจะจบสักที
เราก็บอกกับน้องๆว่า เจ้ากระต่าย 2 ตัวเนี่ย มันเบื่อที่จะสร้างบ้านแล้วคะ เด็กๆ
ไหนใครอย่ากจะสร้างบ้านให้เจ้ากระต่ายอยู่บ้างคะ ? งันเรามาช่วยกันสร้างบ้าน
ให้เจ้ากระต่าย 2 ตัวลงในกระดาษ A4 กันดีกว่า
- พูดคุยซักถามกับเด็กๆ ว่า เด็กๆวาดรูปอะไรให้เจ้ากระต่ายอยู่คะ ทำมัยเด็กๆถึงวาดรูปนี้ ฯลฯ
- มีกิจกรรมเสริมอยู่ 2 กิจกรรม ให้กับน้องๆช่วยกันทำ
1. ระบายสีรูปกระต่าย แบบมิติสัมพันธ์
2. ระบายสีด้วยกาวกากเพรช
การเป็นครูที่ดีต้องมี 3 สุ และ 4เต็ม
วันนี้เราได้ค้นหางานในเน็ตแล้วได้เห็นคติประจำใจของครูที่ดี ซึ่งการเป็นครูที่ดีต้องมี 3สุ และ 4เต็ม ดังนี้
1.ครูที่ดีต้องมี ๓ สุ
๑. สุวิชาโน มีความรู้ดี
๒. สุสาสโน สอนดี มีเทคนิค ตั้งใจสอน
๓. สุปฏิปันโน มีความประพฤติดี
2.ครูดีต้องมี ๔ เต็ม
๑. สอนให้เต็มหลักสูตร
๒. สอนให้เต็มเวลา
๓. สอนด้วยความเต็มใจ
๔. สอนเต็มความสามารถ
1.ครูที่ดีต้องมี ๓ สุ
๑. สุวิชาโน มีความรู้ดี
๒. สุสาสโน สอนดี มีเทคนิค ตั้งใจสอน
๓. สุปฏิปันโน มีความประพฤติดี
2.ครูดีต้องมี ๔ เต็ม
๑. สอนให้เต็มหลักสูตร
๒. สอนให้เต็มเวลา
๓. สอนด้วยความเต็มใจ
๔. สอนเต็มความสามารถ
วันพุธที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
สิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันที่ 13 ก.พ. 2551
1. ได้รู้ว่าการประเมินพฤติกรรมหรือการวัดผลเด็กทำได้ โดย
1.1. สังเกต 1.2. สนทนา 1.3. ดูจากผลงานและชิ้นงาน
2. เครื่องมือในการสังเกต คือ แบบสังเกตซึ่งมีอยู่ 2 แบบ ได้แก่
2.1. การใช้คำถามปลายเปิด ( แบบกลอก )
2.2. การใช้คำถามปลายปิด ( แบบติก )
* ส่วนใหญ่ครูอนุบาลจะใช้ เครื่องมือในการสังเกตแบบปลายเปิด *
3. กิจกรรมทางภาษา มี
3.1. กิจกรรมการฟัง ได้แก่ การฟังแล้วปฎิบัติตาม เช่น การฟังและปฎิบัติตามจินตนาการ การฟังแล้วปฎิบัติตามคำสั่ง
การฟังแล้วปฎิบัติตามจังหวะ การฟังเพื่อฝึกความเป็นผู้นำและผู้ตาม ฯลฯ
3.2. กิจกรรมการพูด ได้แก่ การให้เด็กได้พูดประชาสัมพันธ์ การให้เด็กได้พูดโฆษณาสิ่งของ การให้เด็กพูดบทบาทสมมุติ ฯลฯ
3.3. กิจกรรมการอ่าน ได้แก่ การให้เด็กอ่านนิทานจากภาพหรือตัวหนังสือ การอ่านข่าวหรืออ่านป้ายโฆษณา การอ่านจากท่าทางหรือการอ่านจากปาก
3.4. กิจกรรมการเขียน ได้เเก่ การเขียนชื่อ การวาดภาพ การบรรยายภาพ การตกเเต่งงานประดิษฐ์ ฯลฯ
1.1. สังเกต 1.2. สนทนา 1.3. ดูจากผลงานและชิ้นงาน
2. เครื่องมือในการสังเกต คือ แบบสังเกตซึ่งมีอยู่ 2 แบบ ได้แก่
2.1. การใช้คำถามปลายเปิด ( แบบกลอก )
2.2. การใช้คำถามปลายปิด ( แบบติก )
* ส่วนใหญ่ครูอนุบาลจะใช้ เครื่องมือในการสังเกตแบบปลายเปิด *
3. กิจกรรมทางภาษา มี
3.1. กิจกรรมการฟัง ได้แก่ การฟังแล้วปฎิบัติตาม เช่น การฟังและปฎิบัติตามจินตนาการ การฟังแล้วปฎิบัติตามคำสั่ง
การฟังแล้วปฎิบัติตามจังหวะ การฟังเพื่อฝึกความเป็นผู้นำและผู้ตาม ฯลฯ
3.2. กิจกรรมการพูด ได้แก่ การให้เด็กได้พูดประชาสัมพันธ์ การให้เด็กได้พูดโฆษณาสิ่งของ การให้เด็กพูดบทบาทสมมุติ ฯลฯ
3.3. กิจกรรมการอ่าน ได้แก่ การให้เด็กอ่านนิทานจากภาพหรือตัวหนังสือ การอ่านข่าวหรืออ่านป้ายโฆษณา การอ่านจากท่าทางหรือการอ่านจากปาก
3.4. กิจกรรมการเขียน ได้เเก่ การเขียนชื่อ การวาดภาพ การบรรยายภาพ การตกเเต่งงานประดิษฐ์ ฯลฯ
วันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
วันพฤหัสบดีที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
การจัดกิจกรรม การฟัง พูด อ่าน เขียน สำหรับเด็กปฐมวัย
หลังจากไม่ได้เรียนมา 2 อาทิตย์ เพื่อนๆก็บอกหนูว่า ให้หากิจกรรม การฟัง พูด อ่าน เขียน ส่งอ. งั้นเรามาเริ่มกันเลยนะคะ
1.กิจกรรมการฟัง
- ให้เด็กฟังเพลงที่ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อไม่ให้เด็กเบื่อหนาย และสนุกกับการเรียนรู้
- เล่านิทานที่ส่งเสริมคุณธรรมให้เด็กฟัง เช่น นิทานที่ส่งเสริมให้เด็กรู้จักการเเบ่งปัน ช่วยเหลือ ต่อกัน หรือ นิทานที่ส่งเสริมหน้าที่ของตน
2.กิจกรรมการพูด
- เปิอโอกาสให้เด็กเล่าสิ่งที่เด็กประทับใจ ให้เพื่อนๆและครูฟัง
- ให้เด็กพูดหรือเล่าภาพที่ครูเตรียมไว้ให้ต่อเป็นเรื่องราวๆนึ่ง
3.กิจกรรมการอ่าน
- ส่งเสริมให้เด็กอ่านเรื่องราวจากภาพ
- ให้เด็กรู้จักการอ่านป้ายต่างๆที่พบในชีวิตประจำวัน เช่น ไฟเขียวไฟแดง ป้ายสถานีตำรวจ ป้ายโรงพยาบาล ป้ายโรงเรียน ป้ายบ้านเลขที่
4.กิจกรรมการเขียน
- ส่วนใหญ่กิจกรรมการเขียนของเด็กปฐมวัยจะเป็นกิจกรรมศิลปะ เพื่อให้เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อนิ้วมือ อีกทั้งยังส่งเสริมให้เด็กมีความคิดอิสระในการเขียน
ซึ่งจะทำให้เด็ก สนุก เเละไม่เบื่อหน่ายในการเขียน
1.กิจกรรมการฟัง
- ให้เด็กฟังเพลงที่ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อไม่ให้เด็กเบื่อหนาย และสนุกกับการเรียนรู้
- เล่านิทานที่ส่งเสริมคุณธรรมให้เด็กฟัง เช่น นิทานที่ส่งเสริมให้เด็กรู้จักการเเบ่งปัน ช่วยเหลือ ต่อกัน หรือ นิทานที่ส่งเสริมหน้าที่ของตน
2.กิจกรรมการพูด
- เปิอโอกาสให้เด็กเล่าสิ่งที่เด็กประทับใจ ให้เพื่อนๆและครูฟัง
- ให้เด็กพูดหรือเล่าภาพที่ครูเตรียมไว้ให้ต่อเป็นเรื่องราวๆนึ่ง
3.กิจกรรมการอ่าน
- ส่งเสริมให้เด็กอ่านเรื่องราวจากภาพ
- ให้เด็กรู้จักการอ่านป้ายต่างๆที่พบในชีวิตประจำวัน เช่น ไฟเขียวไฟแดง ป้ายสถานีตำรวจ ป้ายโรงพยาบาล ป้ายโรงเรียน ป้ายบ้านเลขที่
4.กิจกรรมการเขียน
- ส่วนใหญ่กิจกรรมการเขียนของเด็กปฐมวัยจะเป็นกิจกรรมศิลปะ เพื่อให้เด็กได้พัฒนากล้ามเนื้อนิ้วมือ อีกทั้งยังส่งเสริมให้เด็กมีความคิดอิสระในการเขียน
ซึ่งจะทำให้เด็ก สนุก เเละไม่เบื่อหน่ายในการเขียน
วันอาทิตย์ที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2551
การทำ slide ครั้งแรก
ถึงอ.จิตนา ที่เครารพ
วันนี้หนูได้ลองหัดทำ slide เป็นครั้งเเรกหนู รู้สึก สนุก ดีใจ และก็ภูมิใจมากๆคะ ในวันนี้หนูกลับมาคิดนะคะว่า โชคดีจังที่อ. พยายามและไม่ล้มเลิกความตั้งใจที่จะทำให้หนูทำ blogge ให้ได้ เพราะในช่วงแรกๆหนูรู้สึกว่ามันยาก และหนูก็ท้อในการทำมาหลายครั้งแล้ว เพราะทำไม่ได้สักที จนหนูได้รับกำลังใจจากอ. อีกทั้งอ. ยังช่วยหนูทำ blogge จนสำเร็จ หนูขอบคุณอ. จริงๆนะคะที่เป็นกำลังใจให้หนูสร้างบล็อก
สุดท้ายนี้ก็อย่ากจะบอกเพื่อนๆว่า ถึงเพื่อนๆจะท้อในการทำบล็อก แต่อย่าถอยนะ จริงๆการทำบล็อกมันไม่ยากหลอก เเต่ที่ยากเพราะเราทำไม่เป็น แต่ถ้าเพื่อนๆเป็นเพื่อนๆจะรู้ว่าการทำบล็อกมันสนุกมาก เราก็ขอเป็นกำลังใจให้เพื่อนๆนะ ..... สู้ๆ ....
วันนี้หนูได้ลองหัดทำ slide เป็นครั้งเเรกหนู รู้สึก สนุก ดีใจ และก็ภูมิใจมากๆคะ ในวันนี้หนูกลับมาคิดนะคะว่า โชคดีจังที่อ. พยายามและไม่ล้มเลิกความตั้งใจที่จะทำให้หนูทำ blogge ให้ได้ เพราะในช่วงแรกๆหนูรู้สึกว่ามันยาก และหนูก็ท้อในการทำมาหลายครั้งแล้ว เพราะทำไม่ได้สักที จนหนูได้รับกำลังใจจากอ. อีกทั้งอ. ยังช่วยหนูทำ blogge จนสำเร็จ หนูขอบคุณอ. จริงๆนะคะที่เป็นกำลังใจให้หนูสร้างบล็อก
สุดท้ายนี้ก็อย่ากจะบอกเพื่อนๆว่า ถึงเพื่อนๆจะท้อในการทำบล็อก แต่อย่าถอยนะ จริงๆการทำบล็อกมันไม่ยากหลอก เเต่ที่ยากเพราะเราทำไม่เป็น แต่ถ้าเพื่อนๆเป็นเพื่อนๆจะรู้ว่าการทำบล็อกมันสนุกมาก เราก็ขอเป็นกำลังใจให้เพื่อนๆนะ ..... สู้ๆ ....
วันเสาร์ที่ 26 มกราคม พ.ศ. 2551
บทบาทและหน้าที่ครูปฐมวัยในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย
วันนี้ได้เข้ามาลิ้งบทความของเพื่อนๆ แล้วชอบบทความนี้เพราะคิดว่าในอนาคตพวกเราต้องเป็นครูปฐมวัยเพราะฉนั้นเราควรจะรู้หน้าที่ของครูปฐมวัย เลยเอาบทความนี้มาวัยหน้าลิ้งเพื่อเป็นการสื่อสารให้ทุกคนที่เป็นครูปฐมวัยได้รู้โดยทั่วกัน
บทบาทและหน้าที่ของครูในการจัดประสบการณ์ทางภาษาให้กับเด็กปฐมวัย
ครูเป็นบุคคลสำคัญยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษาของเด็ก ครูที่ต้องการให้เด็กใช้ภาษาดีครูควรเป็นแบบอย่างที่ดี ถ้าอยากให้เด็กพูดครูต้องเป็นผู้ฟังที่ดี ต้องสนใจและห่วงใยเด็ก ครูต้องวางแผนการจัดประสบการณ์อย่างดี เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาเหมือนการใช้ภาษาปกติในชีวิตประจำวันเพราะเด็กจะเรียนรู้ภาษาตลอดเวลาอยู่แล้วตามธรรมชาติครูปฐมวัยมีบทบาทในการกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก โดยการพัฒนาเด็กต้องเริ่มจากตัวครูก่อน ครูต้องเข้าใจพัฒนาการหรือวัยวุฒิ รวมถึงกระบวนการอบรมเลี้ยงดูให้ถูกต้อง มีความเชื่อมั่นและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลงแนวคิดไปในทางที่ดีขึ้น เพราะครูมีบทบาทสําคัญ มีอิทธิพลต่อความรู้สึก ความคิด และการแสดงออกของเด็ก ครูสามารถทําให้เด็กเรียนรู้ภาษา เข้าใจความหมาย เห็นโครงสร้างของภาษาอย่างองค์รวมก่อน เช่น การเรียนรู้จากนิทานทั้งเรื่อง เด็กๆ จะเรียนรู้ว่าในหนึ่งเรื่องนี้มีหลายหน้าที่ครูเปิดอ่าน แต่ละหน้าจะประกอบด้วยกลุ่มคํา ย่อหน้า ประโยค คําและอักษร ซึ่งค่อยแยกย่อยลงไป เห็นวิธีการเรียงร้อยกันของประโยคในภาษาของเรา ที่ครูอ่านหรือพูดให้ฟัง ซึ่งจะช่วยให้เด็กสามารถเรียนรู้ภาษาได้อย่างราบรื่น
บทบาทและหน้าที่ของครูในการจัดประสบการณ์ทางภาษาให้กับเด็กปฐมวัย
ครูเป็นบุคคลสำคัญยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษาของเด็ก ครูที่ต้องการให้เด็กใช้ภาษาดีครูควรเป็นแบบอย่างที่ดี ถ้าอยากให้เด็กพูดครูต้องเป็นผู้ฟังที่ดี ต้องสนใจและห่วงใยเด็ก ครูต้องวางแผนการจัดประสบการณ์อย่างดี เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้ภาษาเหมือนการใช้ภาษาปกติในชีวิตประจำวันเพราะเด็กจะเรียนรู้ภาษาตลอดเวลาอยู่แล้วตามธรรมชาติครูปฐมวัยมีบทบาทในการกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก โดยการพัฒนาเด็กต้องเริ่มจากตัวครูก่อน ครูต้องเข้าใจพัฒนาการหรือวัยวุฒิ รวมถึงกระบวนการอบรมเลี้ยงดูให้ถูกต้อง มีความเชื่อมั่นและกล้าที่จะเปลี่ยนแปลงแนวคิดไปในทางที่ดีขึ้น เพราะครูมีบทบาทสําคัญ มีอิทธิพลต่อความรู้สึก ความคิด และการแสดงออกของเด็ก ครูสามารถทําให้เด็กเรียนรู้ภาษา เข้าใจความหมาย เห็นโครงสร้างของภาษาอย่างองค์รวมก่อน เช่น การเรียนรู้จากนิทานทั้งเรื่อง เด็กๆ จะเรียนรู้ว่าในหนึ่งเรื่องนี้มีหลายหน้าที่ครูเปิดอ่าน แต่ละหน้าจะประกอบด้วยกลุ่มคํา ย่อหน้า ประโยค คําและอักษร ซึ่งค่อยแยกย่อยลงไป เห็นวิธีการเรียงร้อยกันของประโยคในภาษาของเรา ที่ครูอ่านหรือพูดให้ฟัง ซึ่งจะช่วยให้เด็กสามารถเรียนรู้ภาษาได้อย่างราบรื่น
วันศุกร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2551
สิ่งทีได้ในการเรียนวิชา การจักประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยใน วันที่ 23 มกราคม 2551
วันนี้เราได้ทำบล็อกเพิ่มนั้นก้คือ เอาURLของเพื่อนๆ แล้วก็เอาบทความที่เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัยใน goolge มาใส่ลงบล็อก นอกจากการทำบล็อก วันนี้ อ.จินตนาก็อธิบายว่าในแต่ละวันจะมีการจัดกิจกรรมทางภาษาให้กับเด็กปฐมวัยอะไรบ้าง อ. ก็อธิบายว่ากิจกรรมทางภาษาของเด็กจะเกิดขึ้นตั้งแต่ก้าวแรกที่เดินเข้ามาในโรงเรียน นั้นก็คือการสวัสดีครู ต่อมาก็เป็นการพูดคุยกับเพื่อนๆเเละครู ต่อมาก็เป็นการเข้าแถวเคารพธงชาติ ต่อมาเมื่อพาเด็กเข้าห้องเรียนก็จะมีกิจกรรมทางภาษาที่ทำอยู่ทุกวันนั้นก็คือ การที่คุณครูพูดคุยเเละสักถามประสบการณ์ของเด็ก หรือพูดคุยเกี่ยวกับข่าวที่เด็กสนใจ นอกนั้นก็จะเป็นกิจกรรมอื่นๆเช่นกิจกรรมศิลปะ กิจกรรมเล่นตามมุม และกิจกรรมสุดท้ายก็กคือการเล่นเกมการศึกษา แต่ถึงกระนั้นในทุกๆกิจกรรมก็มีกิจกรรมทางภาษาสอดเเซกอยู่ เช่น กิจกรรมเล่นตามมุมเด็กก็ได้ใช้ภาษาพูดคุยกับเพื่อนในการสื่อ หรือจะเป็นกิจกรรมศิลปะเด็กก็ได้ใชภาษาพูดเวลาบอกครูว่ารูปที่วาดคือรูปอะไร ฯลฯ และกิจกรรมทางภาษาที่เด็กได้เป็นครั้งสุดท้ายนั้นก็คือ การสวัวดีคุณครูก่อนกับบ้าน นอกจากนี้ยังรู้จากอ. อีกว่าเด็กสามารถรับรู้ภาษาได้ตั้งเเต่อยู่ในครรภ์มารดาเพราะเด็กจะได้ยินเสียงตั้งเเต่อยู่ในครรภ์
ความสำเร็จในการทำบล็อก
เย้..... หลังจากที่ทำบล็อกมาหลายครั้ง ในที่สุดก็ทำได้แล้วรู้สึกดีใจและภูมิใจมากๆที่ทำได้ ตอนนี้ก็มีบล็กเป็นของตังเองแล้ว ... เย้เย้เย้...หนูก็ต้องขอบคุณอ.จินตนามากๆนะคะที่ช่วยเหลือหนูจนทำบล็อกสำเร็จ แต่ถึงกระนั้นบล็อกของหนูก็ยังไม่เต็มร้อยยังต้องพัฒนาและลงรูปแบบลูกเล่นอีกมากมาย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)