แม้วันนี้เราจะห่างไกลกัน
แต่ความผูกพันธ์ไม่เคยห่าง
ยังห่วงยังคิดถึงเพื่อนอยู่ทุกวัน
ความรักที่เคยมีให้กันจะอยู่ในใจฉันตลอดไป
วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2551
วันศุกร์ที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
ส่งงานเดียว กิจกรรมเล่านิทานไม่รู้จบ
ชื่อผู้ทำกิจกรรม น.ส.ภัทรานิษฐ์ มังคละกมลศักดิ์
สถานที่จัดกิจกรรม บ้านของน้องแจน น้องเจน
น้องๆที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.ด.ญ.ชนชญาน์ เบิกบาน (น้องเจน)
2.ด.ญ.ชญาดา เบิกบาน (น้องแจน)
3.ด.ญ.ธุวพร วงศ์เสาวภาคย์กุล (น้องเฟิร์น)
ผลการทำกิจกรรม ช่างการเล่านิทานในช่วงเเรกน้องน้องๆตั้งใจและสนใจฟังมาก แต่พอเล่าไปซักพัก
น้องๆทำท่าเหมือนจะเบื่อ อาจจะเป็นเพราะเนื้อหามันซำไปซำมา เลยทำให้ไม่น่าสน
ใจเท่าไร เราเลยบอกกับน้องๆว่าตอนเนี้ยเจ้ากระต่ายมันเบื่อที่จะสร้างบ้านเเล้ว
ให้น้องๆช่วยสร้างบ้านให้เจ้ากระต่ายหน่อยแล้วเราก็ใจมากขึ้น
และเมื่อให้น้องๆช่วยกันทำกิจกรรมเสริม 2 กิจกรรม น้องๆก็มีการแบ่งหน้าที่ในการ
ทำและช่วยกันทำกิจกรรมสำเร็จไปได้ด้วยดี
สถานที่จัดกิจกรรม บ้านของน้องแจน น้องเจน
น้องๆที่เข้าร่วมกิจกรรม 1.ด.ญ.ชนชญาน์ เบิกบาน (น้องเจน)
2.ด.ญ.ชญาดา เบิกบาน (น้องแจน)
3.ด.ญ.ธุวพร วงศ์เสาวภาคย์กุล (น้องเฟิร์น)
ผลการทำกิจกรรม ช่างการเล่านิทานในช่วงเเรกน้องน้องๆตั้งใจและสนใจฟังมาก แต่พอเล่าไปซักพัก
น้องๆทำท่าเหมือนจะเบื่อ อาจจะเป็นเพราะเนื้อหามันซำไปซำมา เลยทำให้ไม่น่าสน
ใจเท่าไร เราเลยบอกกับน้องๆว่าตอนเนี้ยเจ้ากระต่ายมันเบื่อที่จะสร้างบ้านเเล้ว
ให้น้องๆช่วยสร้างบ้านให้เจ้ากระต่ายหน่อยแล้วเราก็ใจมากขึ้น
และเมื่อให้น้องๆช่วยกันทำกิจกรรมเสริม 2 กิจกรรม น้องๆก็มีการแบ่งหน้าที่ในการ
ทำและช่วยกันทำกิจกรรมสำเร็จไปได้ด้วยดี
วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
สิ่งที่ได้เรียนในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2551
วันนี้ได้เสนอกิจกรรมทางภาษากับอ. แล้วได้สอนฟ้าในการทำบล็อก
วันอังคารที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
กิจกรรมพัฒนาการทางภาษา การเล่านิทางไม่รู้จบ
1.การเตรียมตัว
- ศึกษาความหมายและทำความเข้าใจของนิทานไม่รู้จบ
- ฝึกซ้อมในการเล่านิทานไม่รู้จบ
- ศึกษากลวิธีในการเล่านิทานไม่รู้จบเพื่อให้เด็กสนใจ เเละ ไม่เบื่อในการฟัง
- เลือกนิทานไม่รู้จบ
2.การเตรียมสื่อ
- เนื้อเรื่อง นิทานไม่รู้จบ ( เรื่องนิทานเรื่อเจ้ากระต่ายขี้เบื่อ )
- ฉากการเล่านิทานไม่รู้จบ
- กระดาษ A4 หน้าเดียว
- กระดาษที่วาดรูปกระต่าย ทำเป็นมิติสัมพันธ์ หน้าแรกเป็นกระต่ายยิ้ม
แล้วพับครึ่งหน้าด้านล่าง แล้ววาดปากหุบลงให้เหมือนเจ้ากระต่ายกำลังเบื่อ
- สีเทียน
- กาวกากเพรช
- แผ่นที่ระบายกาวกากเพรช
3.การจัดกิจกรรม / ขั้นตอนการปฎิบัติกิจกรรม
- ทำความรู้จักกับน้องๆ
- เล่านิทานไม่รู้จบให้น้องๆฟัง โดยเปิดโอการให้น้องมีส่อนร่วมในการเล่า เช่น
เจ้ากระต่าย 2 ตัวอยู่กระท่อมได้ 2 วันเจ้ากระต่าย 2 ตัวก็เบื่อ
เจ้ากระต่าย 2 ตัวก็เลยสร้าง สร้างอะไรดีคะเด็กๆ (สิ่งที่เด็กตอบ)
เจ้ากระต่าย 2ตัว ก็อยู่ (สิ่งที่เด็กตอบ)ได้ 2 วันเจ้ากระต่าย 2ตัวก็....(เบื่อ)ให้เด็กตอบ
เมื่อเราเล่าไปเรื่อยๆจนรู้สึกว่านิทานควรจะจบสักที
เราก็บอกกับน้องๆว่า เจ้ากระต่าย 2 ตัวเนี่ย มันเบื่อที่จะสร้างบ้านแล้วคะ เด็กๆ
ไหนใครอย่ากจะสร้างบ้านให้เจ้ากระต่ายอยู่บ้างคะ ? งันเรามาช่วยกันสร้างบ้าน
ให้เจ้ากระต่าย 2 ตัวลงในกระดาษ A4 กันดีกว่า
- พูดคุยซักถามกับเด็กๆ ว่า เด็กๆวาดรูปอะไรให้เจ้ากระต่ายอยู่คะ ทำมัยเด็กๆถึงวาดรูปนี้ ฯลฯ
- มีกิจกรรมเสริมอยู่ 2 กิจกรรม ให้กับน้องๆช่วยกันทำ
1. ระบายสีรูปกระต่าย แบบมิติสัมพันธ์
2. ระบายสีด้วยกาวกากเพรช
- ศึกษาความหมายและทำความเข้าใจของนิทานไม่รู้จบ
- ฝึกซ้อมในการเล่านิทานไม่รู้จบ
- ศึกษากลวิธีในการเล่านิทานไม่รู้จบเพื่อให้เด็กสนใจ เเละ ไม่เบื่อในการฟัง
- เลือกนิทานไม่รู้จบ
2.การเตรียมสื่อ
- เนื้อเรื่อง นิทานไม่รู้จบ ( เรื่องนิทานเรื่อเจ้ากระต่ายขี้เบื่อ )
- ฉากการเล่านิทานไม่รู้จบ
- กระดาษ A4 หน้าเดียว
- กระดาษที่วาดรูปกระต่าย ทำเป็นมิติสัมพันธ์ หน้าแรกเป็นกระต่ายยิ้ม
แล้วพับครึ่งหน้าด้านล่าง แล้ววาดปากหุบลงให้เหมือนเจ้ากระต่ายกำลังเบื่อ
- สีเทียน
- กาวกากเพรช
- แผ่นที่ระบายกาวกากเพรช
3.การจัดกิจกรรม / ขั้นตอนการปฎิบัติกิจกรรม
- ทำความรู้จักกับน้องๆ
- เล่านิทานไม่รู้จบให้น้องๆฟัง โดยเปิดโอการให้น้องมีส่อนร่วมในการเล่า เช่น
เจ้ากระต่าย 2 ตัวอยู่กระท่อมได้ 2 วันเจ้ากระต่าย 2 ตัวก็เบื่อ
เจ้ากระต่าย 2 ตัวก็เลยสร้าง สร้างอะไรดีคะเด็กๆ (สิ่งที่เด็กตอบ)
เจ้ากระต่าย 2ตัว ก็อยู่ (สิ่งที่เด็กตอบ)ได้ 2 วันเจ้ากระต่าย 2ตัวก็....(เบื่อ)ให้เด็กตอบ
เมื่อเราเล่าไปเรื่อยๆจนรู้สึกว่านิทานควรจะจบสักที
เราก็บอกกับน้องๆว่า เจ้ากระต่าย 2 ตัวเนี่ย มันเบื่อที่จะสร้างบ้านแล้วคะ เด็กๆ
ไหนใครอย่ากจะสร้างบ้านให้เจ้ากระต่ายอยู่บ้างคะ ? งันเรามาช่วยกันสร้างบ้าน
ให้เจ้ากระต่าย 2 ตัวลงในกระดาษ A4 กันดีกว่า
- พูดคุยซักถามกับเด็กๆ ว่า เด็กๆวาดรูปอะไรให้เจ้ากระต่ายอยู่คะ ทำมัยเด็กๆถึงวาดรูปนี้ ฯลฯ
- มีกิจกรรมเสริมอยู่ 2 กิจกรรม ให้กับน้องๆช่วยกันทำ
1. ระบายสีรูปกระต่าย แบบมิติสัมพันธ์
2. ระบายสีด้วยกาวกากเพรช
การเป็นครูที่ดีต้องมี 3 สุ และ 4เต็ม
วันนี้เราได้ค้นหางานในเน็ตแล้วได้เห็นคติประจำใจของครูที่ดี ซึ่งการเป็นครูที่ดีต้องมี 3สุ และ 4เต็ม ดังนี้
1.ครูที่ดีต้องมี ๓ สุ
๑. สุวิชาโน มีความรู้ดี
๒. สุสาสโน สอนดี มีเทคนิค ตั้งใจสอน
๓. สุปฏิปันโน มีความประพฤติดี
2.ครูดีต้องมี ๔ เต็ม
๑. สอนให้เต็มหลักสูตร
๒. สอนให้เต็มเวลา
๓. สอนด้วยความเต็มใจ
๔. สอนเต็มความสามารถ
1.ครูที่ดีต้องมี ๓ สุ
๑. สุวิชาโน มีความรู้ดี
๒. สุสาสโน สอนดี มีเทคนิค ตั้งใจสอน
๓. สุปฏิปันโน มีความประพฤติดี
2.ครูดีต้องมี ๔ เต็ม
๑. สอนให้เต็มหลักสูตร
๒. สอนให้เต็มเวลา
๓. สอนด้วยความเต็มใจ
๔. สอนเต็มความสามารถ
วันพุธที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
สิ่งที่ได้เรียนรู้ในวันที่ 13 ก.พ. 2551
1. ได้รู้ว่าการประเมินพฤติกรรมหรือการวัดผลเด็กทำได้ โดย
1.1. สังเกต 1.2. สนทนา 1.3. ดูจากผลงานและชิ้นงาน
2. เครื่องมือในการสังเกต คือ แบบสังเกตซึ่งมีอยู่ 2 แบบ ได้แก่
2.1. การใช้คำถามปลายเปิด ( แบบกลอก )
2.2. การใช้คำถามปลายปิด ( แบบติก )
* ส่วนใหญ่ครูอนุบาลจะใช้ เครื่องมือในการสังเกตแบบปลายเปิด *
3. กิจกรรมทางภาษา มี
3.1. กิจกรรมการฟัง ได้แก่ การฟังแล้วปฎิบัติตาม เช่น การฟังและปฎิบัติตามจินตนาการ การฟังแล้วปฎิบัติตามคำสั่ง
การฟังแล้วปฎิบัติตามจังหวะ การฟังเพื่อฝึกความเป็นผู้นำและผู้ตาม ฯลฯ
3.2. กิจกรรมการพูด ได้แก่ การให้เด็กได้พูดประชาสัมพันธ์ การให้เด็กได้พูดโฆษณาสิ่งของ การให้เด็กพูดบทบาทสมมุติ ฯลฯ
3.3. กิจกรรมการอ่าน ได้แก่ การให้เด็กอ่านนิทานจากภาพหรือตัวหนังสือ การอ่านข่าวหรืออ่านป้ายโฆษณา การอ่านจากท่าทางหรือการอ่านจากปาก
3.4. กิจกรรมการเขียน ได้เเก่ การเขียนชื่อ การวาดภาพ การบรรยายภาพ การตกเเต่งงานประดิษฐ์ ฯลฯ
1.1. สังเกต 1.2. สนทนา 1.3. ดูจากผลงานและชิ้นงาน
2. เครื่องมือในการสังเกต คือ แบบสังเกตซึ่งมีอยู่ 2 แบบ ได้แก่
2.1. การใช้คำถามปลายเปิด ( แบบกลอก )
2.2. การใช้คำถามปลายปิด ( แบบติก )
* ส่วนใหญ่ครูอนุบาลจะใช้ เครื่องมือในการสังเกตแบบปลายเปิด *
3. กิจกรรมทางภาษา มี
3.1. กิจกรรมการฟัง ได้แก่ การฟังแล้วปฎิบัติตาม เช่น การฟังและปฎิบัติตามจินตนาการ การฟังแล้วปฎิบัติตามคำสั่ง
การฟังแล้วปฎิบัติตามจังหวะ การฟังเพื่อฝึกความเป็นผู้นำและผู้ตาม ฯลฯ
3.2. กิจกรรมการพูด ได้แก่ การให้เด็กได้พูดประชาสัมพันธ์ การให้เด็กได้พูดโฆษณาสิ่งของ การให้เด็กพูดบทบาทสมมุติ ฯลฯ
3.3. กิจกรรมการอ่าน ได้แก่ การให้เด็กอ่านนิทานจากภาพหรือตัวหนังสือ การอ่านข่าวหรืออ่านป้ายโฆษณา การอ่านจากท่าทางหรือการอ่านจากปาก
3.4. กิจกรรมการเขียน ได้เเก่ การเขียนชื่อ การวาดภาพ การบรรยายภาพ การตกเเต่งงานประดิษฐ์ ฯลฯ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)